เรียนภาษาอังกฤษมาเป็น 10 ปี แต่พอเจอฝรั่งจริงๆกลับพูดไม่ออก
สวัสดีค่ะคุณผู้อ่าน
ที่ครูเคทจั่วหัว เรื่องไว้ตอนนี้ไมรู้ว่าจะตรงกับใจคุณผู้เรียนภาษาอังกฤษหรือ เปล่า แต่สมัยก่อนตอนที่ครูเคทยังไม่พูตภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างนี้ ครูเคทมีอาการอย่างที่ว่านี่ล่ะค่ะ คืออยากจะพูดแต่พอเริ่มพูดมันกลับนึกคำศัพท์ไม่ออกชะอย่างสาเหตุใหญ่ ๆ ที่คนไทยมีอาการอย่างนี้เวลาพูดภาษาอังกฤษก็คือ
1. คนไทย เรียนภาษาอังกฤษ คิดประโยคภาษาไทยก่อนแล้วจึงแปลเป็นภาษาอังกฤษ
2. คนไทยคิดไม่ลึก หรือคิดไม่เหมือนฝรั่ง
3. คนไทยชอบคิดสะเปะ สะปะเรื่อยเปื่อย ไม่เป็นระบบ ไม่มีโครงสร้างคุยไปคุยมายังไม่รู้ว่าคุยเรื่องอะไรกันแน่ ด้วยเหตุผลเหล่านี้ เราจึงเกิดอาการพูดไม่ออกบอกไม่ถูกกันทั่วหน้า ในบทนี้ครูส้ม ) ว่าจะพูดถึงสาเหตุหลักประการที่หนึ่งกัน ส่วน สาเหตุที่สองและสามได้เคยพูดไว้ใน รีวิวบทก่อนๆ แล้วอันว่าโครงสร้างภาษาไทยกับ ภาษาอังกฤษนั้นมีความแตกต่างกันโดย สิ้นเชิงอยู่แล้ว ดังนั้น ถ้าคุณมัวแต่คิดเป็นไทยแล้วแปลเป็นอังกฤษคำต่อคำ คณก็จะพูดภาษาอังกฤษได้แบบ เรียนภาษาอังกฤษไงคะ ลองสำรวจตัวเองว่าคุณเป็นแบบนี้หรือไม่ ครูเคยมีลูกศิษย์อยู่คนหนึ่ง คนที่เคยเล่าให้ฟังว่า เธอเป็นลูกคุณช่างจด แต่ไม่ช่างฟังและช่างจำ เธอเป็นคนที่มีปัญหาของการคิดประโยคเป็นภาษาไทย แล้วแปลเป็นอังกฤษอย่างมากคือเรียกว่าทุกประโยคภาษาอังกฤษที่ เธอพูดจะไม่มีฝรั่งคนไหนในโลกนี้ เข้าใจที่เธอพูดเลย แต่ถ้าเป็นคนไทยล่ะไม่เป็นปี่เป็นขลุ่ย มีอยู่วันหนึ่งเธอขาดเรียน เมื่อเจอกันเข้าเรียนในครั้งต่อไป ครูเคยถามเธอว่าทำไมขาดเรียน เธอก็ตอบอย่างฉะฉานว่า “l was sick because l went out and my face touched the rain.” แปลเป็นไทยว่าเธอเป็นหวัตเพราะไปตากฝนมา ก็หวังว่าคงจะ มีฝรั่งซักคนที่เข้าใจเธอนะคะ สังเกตดูให้ดีนะคะ เธอพูดภาษาอังกฤษแบบถูกไวยากรณ์เป๊ะ (แบบที่คนไทยทุกคนใฝ่ฝันหรือคาดหวังว่าตัวเองต้องพูดให้ถูกไม่ใช่หรือค่ะ) แต่ที่ผิดคือ ใช้คำผิด และสื่อความหมายโดยรวมผิด ที่ว่าคุณคงเคยบอกให้คนอื่นหยิบของอะไรให้คุณโดยคุณนึกชื่อสิ่งของนั้นไม่ถูก คุณก็พูดว่า “นังแจ๋ว ช่วยไปหยิบไอ้ขนมห่อๆใน ตู้เย็นมาให้หน่อยชิ” ชึ่งไอ้ขนมห่อนั้นอาจจะเป็นทุเรียนกวน หรือ คุ๊กกี้ ที่สมัยนี้เขานิยมทำแพ็คเกจเป็นห่อเป็นท่อนกลม ๆ ที่คุณบังเอิญ นึกชื่อไม่ออกขึ้นมา แต่อย่างไรก็ตามถ้านังแจ๋วไอคิวไม่ต่ำผิตปกติหรือในตู้เย็นของคุณไม่มีของ ลักษณะห่อ ๆ กลม ๆ เผื่อเยอะแยะเต็มไปหมด นังแจ๋วก็น่าจะเข้าใจและหยิบถูกห่อ หรือหนุ่ม ๆ สาว ๆ เวลาเขาคุยกันกับเพื่อนชี้ย่ำปึ้กเขาอาจจะพูดด้วยรห้สลับที่เป็นที่เข้าใจ กัน เชน“เฮย…ขอยืมไอ้นั่นหน่อยชิเ เขาก็จะได้ “ไอ้นั่น” ตามต้องการ โดยไมต้องเรียกชื่อออกมาเลย หรือ ขยายตัวแสบ ให้นั้นเธอไม่ บอกชั้นยะ เสียเรื่องหมดเลย” พูดแค่นี้ ยายตัวแสบคนนั้น (ชึ่งไม่ต้องเรียกชื่อให้แสลงหัวใจ)ก็รู้เองว่าตอนนั้นน่ะตอนไหนแล้วเรื่อง ที่เฟ้นหายนั่นมันเรื่องอะไรเทคนิคทีครูเคทกำลังจะแนะน้ำก็คือ การอธิบายคำศัพท์ที่ นึกเมื่อถูกนั่นด้วยคำอื่นที่ใกล้เคียง หรือแสดงให้เห็นภาพชัตขึ้น หรือจะเรียกว่า พูดวนไปวนมาแล้วไปอัอมมาจนเข้าเปัา อย่างที่ฝรั่งเขาเรียนภาษาอังกฤษเรียก วา “go around the bush” กับเทคนิคคนพูดง่ายทำยากสำหรับคนไทยทั้ง ๆ ที่คนไทยถนัดเล่นทายใบ้ค่ำ ที่ยากก็เพราะว่าเวลาเราพูดอังกฤษ เราจะมุ่งแปล ๆ ไทยให้มันออกมาเป็นคำเป็นประโยคอังกฤษ ถ้าคุณก็เป็นอีกคนที่กำลังทำอย่างนี้ ก็แสดงว่าคุณไม่ได้ใช้ความพยายามในการชื่อสารถ่ายทอดความคิด คุณเพียงแต่ทำแบบฝึกหัดวิชาคณิตศาสตร์ที่ต้องนำเอาตัว เลขไปแทนตัวเเปร x’ y’ zในสูตรสมการเท่านั้นเอง พอหาค่าตัวเลขมาใส่ไม่ได้ ก็เกิดอาการใบ้รับประทาน พูดไม่ออก บอกไม่ถูกมากว่า 10 ปี พบว่าคนที่เรียนเก่ง หรือพวกชอบเรียนทฤษฏี อย่างพวกหมอเรียนภาษาอังกฤษ วิศวกร นักบัญชี แต่ไม่อยากจะเหมาว่า พวกเรียนสายวิทย์ เพราะเรียนสายศิลป์ก็เป็นเหมือนกัน เช่น พวกที่เรียน เพื่อมาทางภาษาศาสตรเป็นต้น พวกนี้เป็นการเรียนไปได้ถึงจุดหนึ่ง คือสามารถพัฒนาขึ้นมาได้บ้างหาก เรียนภาษาอังกฤษให้เหมือน ฝรั่งได้เเล้ว แต่พอเวลาจะพูดก็อดไม่ได้ที่จะคิดเรื่อง grammar แล้วหาคำมาแทนค่าอยู่ดี ที่น่าสนใจ คือพวกที่มีพื้นฐานต้านทฤษฏีภาษาน้อย คือพวกเรียนไม่เก่ง หรือไม่ค่อยชอบเรียนทฤษฎี แต่มีความตั้งใจจริงที่จะพัฒนาตัวเองหรือมีเเล้วไม่เรียนภาษาอังกฤษหมาย ถึงในการพูดภาษาอังกฤษให้ได้อย่างชัดเจนพวกนี้จะประสบความสำเร็จ ในการฝึกพูดภาษาอังกฤษ ด้วยวิธีธรรมชาติตามทฤษฏีของครูเคทมากกว่า ครูเคทขอ ยกตัวอย่างการฝึกทักษะทั้งสองวิธีให้เห็นชัดขึ้นถ้าคุณผู้อ่านเป็นนักตนตรี นักดนตรีจะมีอยู่สามประเภท คือ ประเภทที่หนึ่งคือพวกที่เรียน และเล่นดนตรีตามตัวโน้ต เช่น ตอนเรียน เปียโนเรียนมาแบบอ่านตัวโน้ต เรียกว่าพอเห็นตัวโน้ตแล้วนิ้วจะกระดิกไปตามทำนอง ตามจังหวะที่ตัวโน้ตกำหนดให้อัตโนมัติ พอยกเอาโน้ตออกบางคนเล่นต่อไม่ได้เลยก็มี ประเภทที่สอง คือพวกที่เล่นดนตรีจากความทรงจำ อ่านโน้ตก่อน พอเล่นใปหลาย ๆ รอบมันก็คล่องไปเอง เริ่มจำไต้ คราวนี้ก็เล่นจากความทรงจำ แต่พวกนี้ก็ไม่สามารถเล่นเพลงที่ไม่เคยรู้จักมาก่อนได้ ประเภทสุดท้าย คือพวกที่เล่นตนตรีออกมาจากความรู้สึกนึกคิดแล้วถ่ายทอตออกมาเป็น จากประสาทสัมผัสของตนเอง พวกนักคนตรีแจ๊สนี่เป็นตัวอย่างทีตี พวกนีจะสามารถคิดทำนองเพลงได้สดๆ ไม่มีการอ่านโน้ตใดๆ การเรียนภาษาอังกฤษเเบบครูเคท เปรียบเสมือนนักดนตรีประเภทที่สามนี่เอง แต่ว่าจะให้ครูเคทสรุปว่าวิธีใดดีกว่ากัน ก็ยากที่จะสรุป เพราะขืนบอกว่าวิธีธรรมชาติแบบนักดนตรีแจ๊สดีกว่า เดี๋ยวพวกเล่นตามทฤษฎีดนตรีจะมาว่าครูเคทได้
ขอขอบคุณบทความจาก ครูเคท เนตรปรียา ชุมไชโย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น